เมนู

7. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ 8)
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ 9)
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

3. อธิปติปัจจัย


[466] 1. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้นกระทำราคะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอํานาจของอธิปติปัจจัย.
2. สัญโญชนสัมปยุตตธรรมเป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
3. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ
อธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
4. สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้วกระทำ
กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌานแล้ว ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
5. สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ครั้นกระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิด
ขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌานแล้ว ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิด
ขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

4. อนันตรปัจจัย


[467] 1. สัญโญชนสัมปยุตตธรรมเป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
2. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
3. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วยอํานาจของ
อนันตรปัจจัย.
4. สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย